วิกฤตคนจน for Dummies

ปรับกลยุทธ์พลิกเกม “ล้งผลไม้ไทย” โดดเด่นท้าทายเวทีโลก

อ่านเกี่ยวกับแนวทางของเราในการติดต่อกับลิงก์ภายนอก

“ต้องไม่มีคนจนเหลืออยู่ในประเทศไทย และทุกคนจะต้องมีบ้านเป็นของตัวเอง”

อย่างไรก็ตาม การซื้อลอตเตอรี่ไม่ได้เป็นพฤติกรรมที่ไม่สมเหตุสมผล หรือเป็นพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมเสมอไป เพราะผลตอบแทนที่ได้รับจากการซื้อลอตเตอรี่นั้นไม่ได้มีเพียงเงินรางวัลอย่างเดียว แต่ยังรวมถึงความสนุกตื่นเต้นจากการได้ลุ้นว่าตนเองจะถูกรางวัลหรือไม่ และความสุขจากการได้รู้สึกว่าตนเองมีความหวังที่จะหลุดพ้นจากความยากจน หมายความว่า ถึงแม้โอกาสหลุดพ้นความยากจนจะไม่มากในความเป็นจริง แต่ความสุขและความสนุกที่ได้ถือเป็นสิ่งตอบแทนจากการจ่ายเงินซื้อลอตเตอรี่ คล้ายกับการที่คนยอมจ่ายเงินเพื่อซื้อความบันเทิงรูปแบบอื่น

นอกจากในไทยแล้ว คำถามนี้ก็เป็นสิ่งที่นักเศรษฐศาสตร์ทั่วโลกตั้งคำถามเช่นกันว่า ‘ความจน’ แท้จริงแล้วเป็นอย่างไร แล้วเรานำระดับตัวเลขรายได้มาชี้วัดได้จริงหรือไม่ และถ้าวัดได้ ระดับรายได้ที่ทำให้คนยากจนแท้จริงแล้วคือเท่าไหร่ เพราะแน่นอนว่าความยากจนไม่ได้ขึ้นอยู่กับระดับรายได้เท่านั้น แต่ยังขึ้นอยู่กับการเข้าถึงทรัพยากร และโอกาสในการทำมาหากิน ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่าคนๆ นั้น อยู่ในพื้นที่ใด อายุเท่าไหร่ เชื้อชาติอะไร และนิยามตัวเองว่าเป็นเพศไหน ทำให้การนิยามคนจนเป็นเรื่องละเอียดอ่อนจนไม่สามารถนำตัวเลขเดียวมาวัดได้

กฎหมายและการกำกับดูแล วิกฤตคนจน การปฏิรูปกฎหมาย

เขามองว่า ทุกครั้งเมื่อรัฐบาลจะให้สวัสดิการ มักแบ่งแยกว่าใครเป็นคนจน หรือคนรวย เมื่อรวยแล้วไม่ควรได้ มักจะมีความผิดพลาดเกิดขึ้นเสมอ เนื่องจากกระบวนการคัดกรองของรัฐขาดประสิทธิภาพและไม่แม่นยำ จะมีคนจนอีกครึ่งหนึ่งที่ตกสำรวจ จากการแบ่งแยกความจนของภาครัฐ โดยที่รัฐบาลไม่เรียนรู้จากการจัดทำนโยบายของต่างประเทศที่ประสบความสำเร็จว่า การลดความผิดพลาดจากการสำรวจกลุ่มคนจนที่ได้ผลที่สุด คือ การให้แบบถ้วนหน้า โดยไม่แบ่งแยก

นโยบายการแก้ปัญหาความยากจนภายใต้นโยบายประชานิยม นับเป็นนโยบายสำคัญของรัฐบาลชุดนี้ที่ทรงอิทธิพล สามารถเอาชนะใจประชาชนได้กว่าค่อนประเทศ เพราะหลักการดำเนินนโยบายได้ใช้ประชาชนเป็นตัวตั้งในการแก้ไขปัญหา เปิดโอกาสให้ประชาชนผู้ยากจนสามารถเข้าถึงทรัพยากร รวมทั้งบริการของรัฐได้อย่างทั่วถึง

คำบรรยายภาพ, วิมลเห็นว่ารัฐบาลควรมีมาตรการดูแลคนจนซึ่งกำลังได้รับผลกระทบจากอุณหภูมิที่สูงขึ้นทุกปี

บทความวิชาการ วิกฤติความยากจนในเอเชีย

บทความนี้มีประโยชน์กับคุณมากน้อยเพียงใด *

วิกฤตโควิด กับวังวนของปัญหาเศรษฐกิจและสังคมไทย

iSEE ฐานข้อมูลเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา

ถ้าอ่านรายงานนี้ลงไปถึงรายละเอียดจะพบด้วยว่า ขณะที่ภาพรวมครัวเรือนทั้งประเทศมีความเปราะบางเพิ่มขึ้น เพราะมีความสามารถหารายได้ลดลง

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *